[go: up one dir, main page]
More Web Proxy on the site http://driver.im/

TH60511B - เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน - Google Patents

เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน

Info

Publication number
TH60511B
TH60511B TH601000298A TH0601000298A TH60511B TH 60511 B TH60511 B TH 60511B TH 601000298 A TH601000298 A TH 601000298A TH 0601000298 A TH0601000298 A TH 0601000298A TH 60511 B TH60511 B TH 60511B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
resorcinol
formalin
weight
parts
ketones
Prior art date
Application number
TH601000298A
Other languages
English (en)
Other versions
TH82898A (th
TH82898B (th
Inventor
คาอิฟุ นายโนบูโอะ
นาคาโอคะ นายฮิโรชิ
โคอินูมะ นายฮิซาโตชิ
Original Assignee
นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง
นางสาวสุพัตรา โพธิสินสมวงศ์
นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์
นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์ นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง นางสาวสุพัตรา โพธิ์สินสมวงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง, นางสาวสุพัตรา โพธิสินสมวงศ์, นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์, นายชาญชัย ศุภดิลกลักษณ์ นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง นางสาวสุพัตรา โพธิ์สินสมวงศ์ filed Critical นางสาวปัณณพัฒน์ เหลืองธาตุทอง
Publication of TH82898A publication Critical patent/TH82898A/th
Publication of TH82898B publication Critical patent/TH82898B/th
Publication of TH60511B publication Critical patent/TH60511B/th

Links

Abstract

DC60(21/04/49) วัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์เพื่อจัดให้มี เรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลง ด้วยคีโตน ซึ่งมีความสามารถละลายปานกลาง เมื่อถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นสารละลายที่เป็นน้ำ และมี ทั้งปริมาณที่ถูกทำให้ลดลงของเรซอร์ซินอล โมโนเมอร์ และปริมาณที่ถูกทำให้ลดลงของเรซิน เร ซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ของเรซอร์ซินอล 5 นิวเคลียสและส่วนตัวนิวเคลียสที่สูงกว่า การประดิษฐ์นี้ เกี่ยวข้องกับเรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน การประดิษฐ์ดังกล่าวเทียบกับ เรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ซึ่งถูกผลิตโดยปฏิกิริยา 2-ขั้นตอน และโดย ที่ พื้นที่พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซินอล โมโนเมอร์คือ 3 ถึง 9% และพื้นที่พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซิ นอล 5 นิวเคลียส และส่วนตัวนิวเคลียสที่สูงกว่า คือ 30 ถึง 55 เทียบกับพื้นที่พีคทั้งหมดที่ได้รับมา โดยการวิเคราะห์โครมาโต กราฟีแบบ gel permeation ของเรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน วัตถุประสงค์ของการประดิษฐ์เพื่อจัดให้มี เรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลง ด้วยคีโตน ซึ่งมีความสามารถละลายปานกลาง เมื่อถูกเปลี่ยนรูปไปเป็นสารละลายที่เป็นน้ำ และมี ทั้งปริมาณที่ถูกทำให้ลดลงของเรซอร์ซินอล โมโนเมอร์ และปริมาณที่ถูกทำให้ลดลงของเรซิน เร ซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ของเรซอร์ซินอล 5 นิวเคลียสและส่วนตัวนิวเคลียสที่สูงกว่า การประดิษฐ์นี้ เกี่ยวข้องกับเรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน การประดิษฐ์ดังกล่าวเทียบกับ เรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ซึ่งถูกผลิตโดยปฏิกิริยา 2-ขั้นตอน และโดย ที่ พื้นที่พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซินอล โมโนเมอร์คือ 3 ถึง 9 % และพื้นที่พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซิ นอล 5 นิวเคลียส และส่วนตัวนิวเคลียสที่สูงกว่า คือ 30 ถึง 55 เทียบกับพื้นที่พีคทั้งหมดที่ได้รับมา โดยการวิเคราะห์โครมาโต กราฟีแบบ gel permeation ของเรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน

Claims (9)

1. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ซึ่ง เรซิน (G) ได้รับมาโดยการเติม และการละลายลงในตัวทำละลายน้ำ, เรซอร์ซินอล (A) ในปริมาณ 100 ถึง 200 ส่วนโดยน้ำหนัก เทียบกับ 100 ส่วนโดยน้ำหนักของน้ำ, การเติมกรดอินทรีย์ หรือกรดอนินทรีย์ (B1) เป็นตัวเร่ง ปฏิกิริยา ในปริมาณ 0.2 ถึง 0.6 ส่วนโดยน้ำหนัก เทียบกับ 100 ส่วนโดยน้ำหนักของน้ำ, การเติม 1 ถึง 40 % ฟอร์มาลิน (C) เป็นหยด ในอัตราส่วนโมลาร์เทียบกับ เรซอร์ซินอล (A) ในรูปของ ฟอร์ มัลดีไฮด์/เรซอร์ซินอล 0.3 ถึง 0.8 ภายใต้การกวนตลอดช่วงเวลา 1 ถึง 300 นาที ในขณะที่ยังมีการ รักษาระบบปฏิกิริยาไว้ที่ 0 ถึง 150 องศาเซลเซียส, การกวนสารผสมต่อไปอีกเป็นเวลา 20 ถึง 90 นาที หลังจากการเสร็จสิ้นของการเติมเป็นหยดๆ เพื่อทำให้ปฏิกิริยาดำเนินต่อ, การทำให้สารผสม เป็นกลางด้วยการเติม 1 ถึง 30 % น้ำแอมโมเนีย (D1) ในปริมาณ 1.0 ถึง 2.0 โมลาร์ เทียบเท่ากัน กับ กรดอินทรีย์ หรือกรดอนินทรีย์ (B1) หลังจากการทำให้เย็นตัวลง, การเติมตัวทำละลายสกัด (E) ในปริมาณ 1 ถึง 5 เทียบเท่ากันกับ เรซอร์ซินอล (A) ลงในสารละลายปฏิกิริยาเพื่อส่งผลให้เกิดการ สกัด, การทำซ้ำขั้นตอนการสกัด N ครั้ง, การจ่ายชั้นของน้ำที่ยังคงค้างอยู่เข้าสู่การกลั่นสารผสมคง จุดเดือด เพื่อจำกัดสารละลายสกัดที่ยังเหลืออยู่ (E), การทำให้สิ่งที่เหลืออยู่เย็นตัวลงเพื่อได้รับของ เหลวควบแน่นเรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน (F), การเติม 10 ถึง 80 ส่วนโดยน้ำหนักของคีโตนเหลว (H) ที่ถูกแทนด้วยสูตรทั่วไป (1) และ 0.1 ถึง 1.5 ส่วนโดยน้ำหนักของกรดอินทรย์ หรือ อนินทรีย์ (B2) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาต่อ 100 ส่วนน้ำหนักของของเหลวควบแน่น (F), การเพิ่มอุณหภูมิถึง 50 ถึง 100 องศาเซลเซียส, การดำเนินปฏิกิริยาต่อเนื่องเป็นเวลา 5 ถึง 24 ชั่วโมง ในขณะที่ยังคงรักษา อุณหภูมิอยู่, การเติม 10 ถึง 50 ส่วนโดยน้ำหนักของน้ำ ต่อ 100 ส่วนโดยน้ำหนักของสารละลาย ปฏิกิริยา หลังการเสร็จสิ้นของปฏิกิริยา, การจำกัดโดยการกลั่นสารผสมคงจุดเดือดในส่วนคีโตน เหลว (H) และ น้ำ ในปริมาณที่ถูกกำจัดโดยการกลั่นสารผสมคงจุดเดือด, การนำส่วนชั้นน้ำที่ยังคง ค้างอยู่ออกไป และการทำให้สิ่งนี้เป็นกลางด้วย 1 ถึง 30 % น้ำแอมโมเนีย (D2) และ โดยที่ พื้นที่ พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซินอล โมโนเมอร์ คือ 3 ถึง 9 % และพื้นที่พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซินอล ที่มี 5 นิวเคลียส และตัวนิวเคลียสที่มากกว่า คือ 30 ถึง 55 % เทียบกับ พื้นทีพีคทั้งหมดที่ได้มาโดย การวิเคราะห์ด้วยโครมาโตกราฟีแบบ gel permeation ของเรซิน (G), จัดให้มี N แทนด้วยเลข จำนวนเต็ม 2 ถึง 5: [Ka 1] (สูตรเคมี) [1] โดยที่ R1 และ R2 เหมือนกัน หรือแตกต่างซึ่งกันและกัน และแต่ละตัวแทนด้วย หมู่เมธิล, เอธิล, หมู่ นอร์มัล-โพรพิล, หมู่ 2-โพรพิล, หมู่ นอร์มัล-บิวทิล, หมู่ บิวทิลทุติยภูมิ, หมู่ไอโซบิวทิล หรือ หมู่เทอร์เชียรี-บิวทิล
2. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ 1 ถึง 40% ฟอร์มาลิน (C) ถูกเติมลงไปเป็นหยดๆ เป็นระยะๆ ในอัตราส่วนโมลาร์เทียบกับ เรซอร์ซินอล (A) ในรูปของ ฟอร์มัลดีไฮด์/เรซอร์ซินอล 0.3 ถึง 0.8 ภายใต้การกวนตลอดช่วงระยะเวลา 20 ถึง 300 นาที
3. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ซึ่ง เร ซิน (G) ได้รับมาโดยการเติม 20 ถึง 80 ส่วนโดยน้ำหนักของคีโตรเหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่ว ไป (1) และ 0.1 ถึง 1.5 ส่วนโดยน้ำหนักของกรดอินทรีย์ หรือ อนินทรีย์ (B2) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ต่อ 100 ส่วนน้ำหนักของของเหลวควนแน่นเรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน (F), ดำเนินปฏิกิริยาเป็นเวลา 5 ถึง 24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิเท่ากับหรือน้อยกว่าอุณหภูมิอะซีโอโทรปิกของน้ำ และคีโตนเหลว (H), การเติม 10 ถึง 50 ส่วนโดยน้ำหนักของน้ำ ต่อ 100 ส่วนโดยน้ำหนักของสารละลายปฏิกิริยา หลัง จากการเสร็จสิ้นของปฏิกิริยา, การกำจัดโดยการกลั่นสารผสมคงจุดเดือดในส่วนคีโตนเหลว (H) และน้ำ ในปริมาณที่ถูกกำจัดโดยการกลั่นสารผสมคงจุดเดือด, การนำส่วนชั้นนำที่ยังคงค้างอยู่ ออกไป และการทำให้สิ่งนี้เป็นกลางด้วย 1 ถึง 30% น้ำแอมโมเนีย (D2) และ ซึ่งสุดท้ายมีความเข้ม ข้นผลิตภัณฑ์ปฏิกิริยา 30 ถึง 80% โดยน้ำหนัก และมีความสามารถในการไหลที่เหมาะสม
4. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของ ข้อที่ที่ 1 ถึง 3 โดยที่ หมู่ R1 และ R2 ในสูตรทั่วไป [1] ของคีโตนเหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1] คือ หมู่เมธิล และหมู่เอธิล ตามลำดับ
5. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของ ข้อ 1 ถึง 4 โดยที่ คีโตนเหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1] มีความสามารถในการละลายเรซิน เร ซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ในปริมาณ 1 กรัม หรือมากกว่า ใน 100 กรัม ของคีโตน (H)
6. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของ ข้อ 1 ถึง 5 โดยที่ คีโตนเหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1] ถูกใช้เป็นสารผสมของสองชนิด หรือ มากกว่าของคีโตนเหลว ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1]
7. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของ ข้อ 1 ถึง 6 โดยที่ กรดอินทรีย์ หรือกรดอนินทรีย์ (B2) คือกรดไฮโดรคลอริก
8. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของ ข้อ 1 ถึง 7 โดยที่ ตัวเลขโมลของฟอร์มัลดีไฮด์ ในฟอร์มาลินเทียบกับ ตัวเลขโมลของเรซอร์ซินอล (A) ในอัตราส่วนโมลาร์ของฟอร์มัลดีไฮด์/เรซอร์ซินอล 0.5 ถึง 0.8
9. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของ ข้อ 1 ถึง 8 โดยที่ เวลาของการเติมเป็นหยดๆ ของฟอร์มาลิน (C) คือ 20 ถึง 120 นาที 1
0. เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของ ข้อ 1 ถึง 9 โดยที่หลังจากปฏิกิริยาที่มีคีโตนเหลว (H) สารละลายปฏิกิริยาถูกปรับค่าความเป็น กรด-ด่างเป็น 4 ถึง 7 ด้วย 1 ถึง 30% น้ำแอมโมเนีย (D2) ก่อนการกำจัดคีโตนเหลว (H) โดยการก ลั่นสารผสมคงจุดเดือด และจากนั้นถูกปรับให้มีค่าความเป็นกรด-ด่าง เป็น 7 ถึง 10 โดยการทำให้ เป็นกลางด้วย 1 ถึง 30% น้ำแอมโมเนีย (D2) หลังจากการกลั่นสารผสมคงจุดเดือด 1
1. กระบวนการสำหรับการผลิต เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ซึ่ง เรซิน (G) ได้รับมาโดยการเติม และการละลายลงในตัวทำละลายน้ำ, เรซอร์ซินอล (A) ในปริมาณ 100 ถึง 200 ส่วนโดยน้ำหนัก เทียบกับ 100 ส่วนโดยน้ำหนักของน้ำ, การเติมกรดอินทรีย์ หรือ กรดอนินทรีย์ (B1) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ในปริมาณ 0.2 ถึง 0.6 ส่วนโดยน้ำหนัก เทียบกับ 100 ส่วน โดยน้ำหนักของน้ำ, การเติม 1 ถึง 40 % ฟอร์มาลิน (C) เป็นหยด ในอัตราส่วนโมลาร์เทียบกับ เร ซอร์ซินอล (A) ในรูปของ ฟอร์มัลดีไฮด์/เรซอร์ซินอล 0.3 ถึง 0.8 ภายใต้การกวนตลอดช่วงเวลา 1 ถึง 300 นาที ในขณะที่ยังมีการรักษาระบบปฏิกิริยาไว้ที่ 0 ถึง 150 องศาเซลเซียส, การกวนสาร ผสมต่อไปอีกเป็นเวลา 20 ถึง 90 นาที หลังจากการเติมเป็นหยดๆ เสร็จสิ้น เพื่อทำให้ปฏิกิริยา ดำเนินต่อ, การทำให้สารผสมเป็นกลางด้วยการเติม 1 ถึง 30 % น้ำแอมโมเนีย (D1) ในปริมาณ 1.0 ถึง 2.0 โมลาร์ เทียบเท่ากันกับ กรดอินทรีย์ หรือกรดอนินทรีย์ (B1) หลังจากการทำให้เย็นตัวลง การเติม ตัวทำละลายสกัด (E) ในปริมาณ 1 ถึง 5 เทียบเท่ากันกับ เรซอร์ซินอล (A) ลงในสาร ละลายปฏิกิริยาเพื่อส่งผลให้เกิดการสกัด, การทำซ้ำขั้นตอนการสกัด N ครั้ง, การจ่ายชั้นของน้ำที่ ยังคงค้างอยู่เข้าสู่การกลั่นสารผสมคงจุดเดือด เพื่อจำกัดสารละลายสกัดที่ยังเหลืออยู่ (E), การทำ ให้สิ่งที่เหลืออยู่เย็นตัวลงเพื่อได้รับของเหลวควบแน่นเรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน (F), การเติม 10 ถึง 80 ส่วนโดยน้ำหนักของคีโตรเหลว (H) ที่ถูกแทนด้วยสูตรทั่วไป (1) และ 0.1 ถึง 1.5 ส่วนโดยน้ำ หนักของกรดอินทรย์ หรือ อนินทรีย์ (B2) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาต่อ 100 ส่วนน้ำหนักของของเหลว ควบแน่น (F), การเพิ่มอุณหภูมิ ถึง 50 ถึง 100 องศาเซลเซียส, การดำเนินปฏิกิริยาต่อเนื่องเป็น เวลา 5 ถึง 24 ชั่วโมง ในขณะที่ยังคงรักษาอุณหภูมิอยู่, การเติม 10 ถึง 50 ส่วนโดยน้ำหนักของน้ำ ต่อ 100 ส่วนโดยน้ำหนักของสารละลายปฏิกิริยา หลังการเสร็จสิ้นของปฏิกิริยา, การจำกัดโดย การกลั่นสารผสมคงจุดเดือดในส่วนคีโตนเหลว (H) และ น้ำ ในปริมาณที่ถูกกำจัดโดยการกลั่นสาร ผสมคงจุดเดือด, การนำส่วนชั้นน้ำที่ยังคงค้างอยู่ออกไป และการทำให้สิ่งนี้เป็นกลางด้วย 1 ถึง 30 % น้ำแอมโมเนีย (D2) และ โดยที่ พื้นที่พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซินอล โมโนเมอร์ คือ 3 ถึง 9 % และ พื้นที่พีคที่สอดคล้องกับเรซอร์ซินอล ที่มี 5 นิวเคลียส และตัวนิวเคลียสที่มากกว่า คือ 30 ถึง 55 % เทียบกับ พื้นทีพีคทั้งหมดที่ได้มาโดยการวิเคราะห์ด้วยโครมาโตกราฟีแบบ gel permeation ของเรซิน (G), จัดให้มี N แทนด้วยเลขจำนวนเต็ม 2 ถึง 5: [Ka 1] (สูตรเคมี) [1] โดยที่ R1 และ R2 เหมือนกัน หรือแตกต่างซึ่งกันและกัน และแต่ละตัวแทนด้วย หมู่เมธิล, เอธิล, หมู่ นอร์มัล-โพรพิล, หมู่ 2-โพรพิล, หมู่ นอร์มัล-บิวทิล, หมู่ บิวทิลทุติยภูมิ,หมู่ไอโซบิวทิล หรือ หมู่เทอร์เชียรี-บิวทิล 1
2. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิที่ 11 โดยที่ 1 ถึง 40% ฟอร์มาลิน (C) ถูกเติมลงไปเป็นหยดๆ เป็นระยะๆ ในอัตรา ส่วนโมลาร์เทียบกับ เรซอร์ซินอล (A) ในรูปของ ฟอร์มัลดีไฮด์/เรซอร์ซินอล 0.3 ถึง 0.8 ภายใต้การ กวนตลอดช่วงระยะเวลา 20 ถึง 300 นาที 1
3. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิที่ 11 หรือ 12 ซึ่ง เรซิน (G) ได้รับมาโดยการเติม 20 ถึง 80 ส่วนโดยน้ำหนักของคี โตรเหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป (1) และ 0.1 ถึง 1.5 ส่วนโดยน้ำหนักของกรดอินทรีย์ หรือ อนินทรีย์ (B2) เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาต่อ 100 ส่วนน้ำหนักของของเหลวควนแน่นเรซอร์ซินอล- ฟอร์มาลิน (F), ดำเนินปฏิกิริยาเป็นเวลา 5 ถึง 24 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิเท่ากับหรือน้อยกว่าอุณหภูมิ อะซีโอโทรปิกของน้ำ และคีโตนเหลว (H), การเติม 10 ถึง 50 ส่วนโดยน้ำหนักของน้ำ ต่อ 100 ส่วน โดยน้ำหนักของสารละลายปฏิกิริยา หลังจากการเสร็จสิ้นของปฏิกิริยา, การกำจัดโดยการกลั่นสาร ผสมคงจุดเดือดในส่วนคีโตนเหลว (H) และน้ำ ในปริมาณที่ถูกกำจัดโดยการกลั่นสารผสมคงจุด เดือด, การนำส่วนชั้นน้ำที่ยังคงค้างอยู่ออกไป และการทำให้สิ่งนี้เป็นกลางด้วย 1 ถึง 30% น้ำ แอมโมเนีย (D2) และ ซึ่งสุดท้ายมีความเข้มข้นผลิตภัณฑ์ปฏิกิริยา 30 ถึง 80% โดยน้ำหนัก และมี ความสามารถในการไหลที่เหมาะสม 1
4. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อที่ 11 ถึง 13 โดยที่ หมู่ R1 และ R2 ในสูตรทั่วไป [1] ของคีโตน เหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1] คือ หมู่เมธิล และหมู่เอธิล ตามลำดับ 1
5. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 11 ถึง 14 โดยที่ คีโตนเหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1] มี ความสามารถในการละลายเรซิน เรซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ในปริมาณ 1 กรัม หรือมากกว่า ใน 100 กรัม ของคีโตน (H) 1
6. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 11 ถึง 15 โดยที่ คีโตนเหลว (H) ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1] ถูกใช้เป็นสารผสมของสองชนิด หรือมากกว่าของคีโตนเหลว ที่ถูกแทนโดยสูตรทั่วไป [1] 1
7. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 11 ถึง 16 โดยที่ กรดอินทรีย์ หรือกรดอนินทรีย์ (B2) คือกรด ไฮโดรคลอริก 1
8. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 11 ถึง 17 โดยที่ ตัวเลขโมลของฟอร์มัลดีไฮด์ ในฟอร์มาลิน เทียบกับ ตัวเลขโมลของเรซอร์ซินอล (A) ในอัตราส่วนโมลาร์ของฟอร์มัลดีไฮด์/เรซอร์ซินอล 0.5 ถึง 0.8 1
9. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 11 ถึง 18 โดยที่ เวลาของการเติมเป็นหยดๆ ของฟอร์มาลิน (C) คือ 20 ถึง 120 นาที 2
0. กระบวนการสำหรับการผลิตเรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน ตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งของข้อ 11 ถึง 19 โดยที่หลังจากปฏิกิริยาที่มีคีโตนเหลว (H) สาร ละลายปฏิกิริยาถูกปรับค่าความเป็นกรด-ด่างเป็น 4 ถึง 7 ด้วย 1 ถึง 30% น้ำแอมโมเนีย (D2) ก่อน การกำจัดคีโตนเหลว (H) โดยการกลั่นสารผสมคงจุดเดือด และจากนั้นถูกปรับให้มีค่าความเป็น กรด-ด่าง เป็น 7 ถึง 10 โดยการทำให้เป็นกลางด้วย 1 ถึง 30% น้ำแอมโมเนีย (D2) หลังจากการก ลั่นสารผสมคงจุดเดือด
TH601000298A 2006-01-25 เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน TH60511B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH82898A TH82898A (th) 2007-02-08
TH82898B TH82898B (th) 2007-02-08
TH60511B true TH60511B (th) 2018-02-05

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP4691157B2 (ja) メタノールおよびホルムアルデヒドからのポリオキシメチレンジメチルエーテルの製造法
JP5339782B2 (ja) アルカリ金属アルコラートの製造方法
CN105102412B (zh) 从包含乙醇醛的组合物中去除甲醛的方法
US7700809B2 (en) Process for preparing polyoxymethylene dimethyl ethers from methanol and formaldehyde
JP5419327B2 (ja) アニリンの製造方法
TWI633078B (zh) N-乙烯基羧酸醯胺之製造方法
EP2782906B1 (en) Process for producing a cyclic acetal
JPH0552845B2 (th)
JP2014534253A5 (th)
US4174310A (en) Process for producing aqueous urea-formaldehyde
CN105985260A (zh) 由异佛尔酮腈产物混合物分离阳离子的方法
JP7055138B2 (ja) 1-ヒドロキシエチルホルムアミド及びn-ビニルホルムアミドの合成
ES2771152T3 (es) Un proceso para la preparación de cetonas insaturadas
JP6827031B2 (ja) N−メチル−2−ピロリドン(nmp)の選択的製造のための改良方法
TH60511B (th) เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน
TH82898A (th) เรซิน รีซอร์ซินอล-ฟอร์มาลิน ที่ถูกดัดแปลงด้วยคีโตน
EP3317254B1 (en) Method for preparation of 1-methyl-3-(trifluoromethyl)-1hpyrazol-5-ol
EP3599232A1 (de) Verfahren zur herstellung von n-methyl(meth)acrylamid
CN1807422B (zh) 间苯二酚与丁酮的反应产物
HU228580B1 (en) Highly concentrated formaldehyde solution, production and reaction thereof
BR112021001628A2 (pt) processos para recuperação e para produção de 3-metil-but-3-en-1-ol
Bicu et al. Study of the condensation products of abietic acid with formaldehyde at high temperatures
JP5887360B2 (ja) アルジトールアセタールの製造方法
JP5087231B2 (ja) ケトン変性レゾルシンホルマリン樹脂の製造方法
KR20060110360A (ko) 고농도 포름알데히드 용액의 제조 방법