[go: up one dir, main page]
More Web Proxy on the site http://driver.im/

TH19241A - การแยกไนโตรเจนออกจากแก๊สอื่นโดยการดูดซับ - Google Patents

การแยกไนโตรเจนออกจากแก๊สอื่นโดยการดูดซับ

Info

Publication number
TH19241A
TH19241A TH9401002828A TH9401002828A TH19241A TH 19241 A TH19241 A TH 19241A TH 9401002828 A TH9401002828 A TH 9401002828A TH 9401002828 A TH9401002828 A TH 9401002828A TH 19241 A TH19241 A TH 19241A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
ions
approximately
mixed
adsorption
zeolite
Prior art date
Application number
TH9401002828A
Other languages
English (en)
Other versions
TH13450B (th
Inventor
อาร์. ฟิทช์ นายแฟรงค์
บูโลว์ นายมาร์ติน
เอฟ. โอโจ นายอาเดโอลา
แฟรงค์อาร์. ฟิทซ์ นาย
มาร์ติน บูโลว์ นาย
อาเดโอลา เอฟ. โอโจ นาย
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นาย ดำเนินการเด่น
นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก
นาย วิรัชศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นาย ดำเนินการเด่น, นาย ต่อพงศ์โทณะวณิก, นาย วิรัชศรีเอนกราธา filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH19241A publication Critical patent/TH19241A/th
Publication of TH13450B publication Critical patent/TH13450B/th

Links

Abstract

ซีโอไลท์ชนิด X ซึ่งแคทไอออน หักล้างประจุ ประกอยบด้วยลิเธียม ไอออน 95 ถึง 50% อะลูมินัม ซีเรียม แลนธานัม และ แลนธาไนด์ผสมหนึ่งชนิดหรือมากกว่า 4 ถึง 50%และไอออน 0 ถึง 15% นิยมให้ซีโอไลท์ดูดซับไนโตรเจนจากแก๊สผสม

Claims (4)

1. วิธีแยกไนโตรเจนออกจากแก๊สผสมซึ่งประกอบด้วย การให้แก๊สผสมดังกล่าวนั้นผ่าน บริเวณดูดซึมที่มีซีโอไลท์ชนิด X อย่างน้อยที่สุดหนึ่งบริเวณ ซึ่งแคทไอออนของซีโอไบท์ประกอบด้วย ลิเธียมประมาณ 50 ถึงประมาณ 95% ไทรเวเลนท์ดไอออน ประมาณ 4 ถึงประมาณ 50% ซึ่งเลือกจาก อะลูมินัม สแกนเดียมแกลเลียมไออร์ออน(III) โครเมียม(III) อินเดียม บิทเทรียม แลนธาไนด์ เดี่ยว แลนธาไนด์สอง่ชนิด หรือมากกว่าผสมกัน และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ และ 0 ถึง ประมาณ 15% ของไอออนที่เหลือซึ่งเกลือกจากโซเดียม โพแทสเสียม แอมโมเนียม แคลเซียม สทรอน เทียม แมกนีเซียม แบเรียม ซิงค์ คอปเปอร์ II และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ ดังนั้น นิยมดูดซับไนโตร เจนจากแก๊สผสมดังกล่าวนั้น 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งซีโอไลท์ชนิด X ดังกล่าวนั้นมีอัตราส่วนของซิลิคอนต่ออะลูมินัม อยู่ในช่วง ประมาณ 0.9 ถึง 1.25 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ในที่ซึ่งนิยมการดูดซับไนโตรเจนจากแก๊สผสมดังกล่าว ซึ่งกระทำที่อุณหภูมิในช่วง ประมาณ -190 ถึงประมาณ 70 องศาเซลเซียส และความดันสัมบูรณ์อยู่ในช่วงประมาณ 0.7 ถึง 15 บาร์ 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ในที่ซึ่งวิธีดังกล่าวนั้นคือกรรมวิธีการดูดซับเป็นรอบซึ่งเลือกจากการดูดซับแบบแกว่ง ความดัน การดูดซับแบบแกว่งอุณหภูมิหรือการดูดซับแบบเหล่านี้รวมกัน 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ในที่ซึ่งกรรมวิธีการดูดซับเป็นรอบดังกล่าวนั้น คือ การดูดซับแบบแกว่งความดัน และ สารดูดซับดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นใหม่ที่ความดันสัมบูรณ์ในช่วงประมาณ 100 ถึงประมาณ 5000 มิลลิบาร์ 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ในที่ซึ่ง นิยมการดูดซับไนโตรเจนจากแก๊สผสมดังกล่าวซึ่งกระทำที่อุณหภูมิในช่วง ประมาณ -20 ถึงประมาณ 50 องศาเซลเซียส และความดันสัมบูรณ์อยู่ในช่วงประมาณ 0.8 ถึง 10 บาร์ 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ในที่ซึ่งกรรมวิธีการดูดซับแบบรอบดังกล่าวนั้น คือ การดูดซับแบบแกว่งอุณหภูมิ และ สารดูดซับดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นใหม่ ที่อุณหภูมิในช่วงประมาณ -502 ถึงประมาณ 300 องศาเซลเซียส 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ในที่ซึ่ง นิยมการดูดซับไนโตรเจนจากแก๊สผสมดังกล่าวซึ่งกระทำที่อุณหภูมิในช่วง ประมาณ -190 ถึงประมาณ 70 องศาเซลเซียส และความดันสัมบูรณ์อยู่ในช่วงประมาณ 0.8 ถึง 10 บาร์ 9. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ในที่ซึ่งประกอบต่อไปด้ยการคายไนโตรเจนออกจากบริเวณดูดซับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งบริเวณ 1 0. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อ 9 ในที่ซึ่งเลือกไทรเวเลนท์ไอออนดังกล่าวจากอะลูมินัาซีเรียม แลนธานัม แลนธาไนด์สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน และไอออนผสมของไออนเหล่านี้ 1 1. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อ 9 ที่ซึ่งเลือกไอออนที่เหลือ ดังกล่าวนั้น จากไฮโดรเนียมไอออน แคลเซียมา สทรอน เทียม แมกนีเวียม ซิงค์ คอปเปอร์(II) และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ 1 2. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1ในที่ซึ่งแคทไอออนดังกล่าวนั้นประกอบด้วยลิเธียมประมาณ 70 ถึง ประมาณ 95 % ไทรเวเลนท์ ไอออน ดังกล่าวนั้นประมาณ 5 ถึงประมาณ 30% และ 0 ถึงประมาณ 10 % ของไอออนที่เหลือดังกล่าวนั้น 1 3. กรรมวิธีดูดซับแบบรอบสำหรับแยกไนโตรเจนออกจากแก๊สผสมซึ่งประกอบด้วย ไนโตรเจน และหนึ่งชนิดหรือมากกว่าของ ออกซิเจน อาร์กอน ฮีเลี่ยม และไฮโดรเจน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน (a) การให้แก๊สผสมดังกล่าวนั้นผ่านบริเวณดูดซึมอย่างน้อยที่สุดหนึ่งบริเวณ ที่มีสารดูดซับเป็นซีโอไลท์ชนิด X ซึ่ง แคทไอออนประกอบด้วย ลิเธียม ประมาณ 50 ถึง ประมาณ 95 % ไทรเวเลนท์ไอออน ดังกล่าวนั้นประมาณ 4 ถึง ประมาณ 50% ซึ่งเลือกจาก อะลูมินัม ซีเรียม แลนธานัม แลนธาไนด์สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน ที่ซึ่งน้ำหนัก รวมกันของ แลนธานัม ซีเรียมพราซีโอไดเมียม และนีไอไดรเมียม ไอออน ที่มีในไอออนผสมประกอบเป็นอย่าง น้อยที่สุด 50 % ของน้ำหนักทั้งหมดของไอออนผสม และไออนผสมของไอออนเหล่านั้น และ 0 ถึงประมาณ 10 % ของไอออนที่เหลือซึ่งเลือกจากโซเดียม โพแทสเซียม ไฮโดรเมียมแอมโมเนียม แคลเซียม สทรอนเทียม แมกนีเซียม แบเรียมซิงค์ คอปเปอร(II) และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ ดังนั้นนิยมดูดซับไนโตรเจนจากแก๊สผสมดังกล่าวนั้น และ (b) การคายไนโตรเจนออกจากบริเวณดูดซับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งบริเวณ 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ในที่ซึ่ง ซีโอไลท์ชนิดX ดังกล่าวนั้นมีอัตราส่วนของซิลิคอน ต่ออะลูมินัม อยู่ใน ช่วงประมาณ 0.9 ถึง 1.1 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 หรือข้อถือสิทธิข้อ 14 ในที่ซึ่ง กรรมวิธีการดูดซับแบบรอบดังกล่าวซึ่งเลือกจากการ ดูดซับแบบแกว่งความดัน การดูดซับแบบแกว่งอุณหภูมิหรือการดูดซับแบบเหล่านี้รวมกัน 1 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ในที่ซึ่ง นิยมการดูดซับไนโตรเจนจากแก๊สผสมดังกล่าวซึ่งกระทำการดูดซับที่อุณหภูมิ ในช่วงประมาณ -190 ถึงประมาณ 70 องศาเซลเซียส และความดันสัมบูรณ์อยู่ในช่วงประมาณ 0.7 ถึง 15 บาร์ 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ในที่ซึ่ง การดูดซับแบบแกว่งเป็นรอบและสารดูดซับดังกล่าวนั้น เกิดขึ้นใหม่ที่ความดัน สัมบูรณ์ในช่วงประมาณ 100 ถึงประมาณ 5000 มิลลิบาร์ 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ในที่ซึ่ง นิยมการดูดซับไนโตรเจนจากแก๊สผสมดังกล่าวซึ่งกระทำที่อุณหภูมิในช่วง ประมาณ -20 ถึงประมาณ 50 องศาเซลเซียส และความดันสัมบูรณ์อยู่ในช่วงประมาณ 0.8 ถึง 10 บาร์ 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ในที่ซึ่งกรรมวิธีการดูดซับแบบรอบดังกล่าวนั้น คือ การดูดซับแบบแกว่งอุณหภูมิ และ สารดูดซับดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นใหม่ ที่อุณหภูมิในช่วงประมาณ 0 ถึงประมาณ 300 องศาเซลเซียส 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ในที่ซึ่งสารดูดซับดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นใหม่อย่างน้อยที่สุดบางส่วนโดยการเอาความ ดันออกแบบทวนกระแส 2 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ในที่ซึ่งสารดูดซับดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นใหม่ต่อไปโดยการเอาความดันออกมาถึงความ ดันบรรยากาศย่อยโดยอาศัยสูญญากาศ 2 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ในที่ซึ่งสารดูดซับดังกล่าวนั้นเกิดขึ้นใหม่ต่อไปโดยการทำเบดให้บริสุทธิด้วยแก๊ส ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ถูกดูดซับจากขั้นตอน(a) 2 3. ซีโอไลท์ชนิด X ซึ่งแคทไอออนประกอบด้วย ลิเธียม ประมาณ 50 ถึง ประมาณ 95 % ไทรเวเลนท์ไอออน ดังกล่าว นั้นประมาณ 4 ถึงประมาณ 50% ซึ่งเลือกจาก อะลูมินัม แสกนเดียม แกลเลียมไอร์ออน(III) โครเมียม(III) อินเดียม ยิทเทรียม แลนธาไนด์เดี่ยวและ แลนธาไนด์สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ และ 0 ถึงประมาณ 15 % ของไอออนที่เหลือซึ่งเลือกจากโซเดียม โพแทสเซียม ไฮโดรเมียม แอมโมเนียมแคลเซียม สทรอนเทียม แมกนีเซียม แบเรียม ซิงค์ คอปเปอร(II)และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ 2 4. ซีโอไลท์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ในที่ซึ่งแคทไอออนดังกล่าวนั้นประกอบด้วยลิเธียมประมาณ 70 ถึง ประมาณ 95 % ไทรเวเลนท์ไอออน ดังกล่าวนั้นประมาณ 5 ถึงประมาณ 30% และไอออนที่เหลือดังกล่าวนั้น 0 ถึงประมาณ 10 % 2 5. ซีโอไลท์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 หรือข้อ 24 ในที่ซึ่งเลือกไทรเวเลนท์ไอออนจากอะลูมิเนียม ซิเรียม แลนธานัม แลนธาไนด์ สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน ที่ซึ่งแลนธานัม ซีเรียม พราซีโอไดเมียม และนีโอไดเมียม ไอออน ทั้งหมดที่มีใน สารผสมประกอบเป็นอย่างน้อยที่สุด 50% ของแลนธาไนด์ไอออนทั้งหมด และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ 2 6. ซีโอไลท์ตามข้อถือสิทธิข้อ 25 ในที่ซึ่งอัตราส่วนโยอะตอมของซิลิคอนต่ออะลูมินัม ในซีโอไลท์ แลคทิช คือระหว่าง 0.9 และ1.10 2 7. ซีโอไลท์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 หรือข้อ 24 ในที่ซึ่งไอออนที่เหลือดังกล่าวนั้นเลือกจากไฮโดรเนียมไอออนแคลเซียม สทรอนเทียม แมกนีเซียม ซิงค์ คอปเปอร์ II และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้ 2 8. ซีโอไลท์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ในที่ซึ่งอัตราส่วนโดยอะตอมของซิลิคอน ต่ออะลูมินัมในซีโอไลท์แลคทิช คือระหว่าง 0.9 และ 1.25 2 9. ซีโอไลท์ตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ในที่ซึ่งแคทไอออนดังกล่าวนั้น ถือว่าประกอบด้วยลิเธียม และไทรเวลนท์ไอออน ดัง กล่าวนั้น 3 0. กรรมวิธีสำหรับการเตรียม ซีโอไลท์ชนิด X ที่แลกเปลี่ยนลิเธียมและไทรเวเลนท์ไอออน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ (a) การนำสารละลายของเกลือของไทรเวเลนท์ไอออน ในน้ำ ซึ่งเลือกจากอะลูมินัมสแกนเดียม แกลเลียม ไอร์ออน(III) โครเมียม(III) อินเดียม บิทเทรียม แลนธาไนด์เดียวแลนธาไนด์สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน และไอออนผสมของไอออน เหล่านี้มาสัมผัสกับซีโอไลท์ชนิด X ทีมีโซเดียม ไอออนโพแทสเซียม ไออน แอมโมเนียม ไอออนหรือไอออนผสมของไอออน เหล่านี้ ในการเป็นแคทไออน ที่แลกเปลี่ยนได้ จนกระทั่งประมาณ 4 ถึงประมาณ 50% โดยสมมูลของแคทไออนที่แลกเปลี่ยน ได้ ถูกแทนที่ด้วยไทรเวเวลนท์ ไอออน ดังกล่าวนั้นหนึ่งชนิดหรือมากกว่าและ (b) การนำสารละลายของเกลือลิเธียมในน้ำ มาสัมผัสกับผลิตภัณฑ์แลกเปลี่ยนไทรเวเลนท์ไอออนของขั้นตอน(a) ดังนั้น อย่างน้อยที่สุดให้ซีโอไลท์ชนิด ที่แลกเปลี่ยนไอออนคู่ซึ่งมีลิเธียมาไอออน ประมาณ 50 ถึงประมาณ 95% โดยสมมูล และ ไทรเวเลนท์ ไอออน ประมาณ 4 ถึงประมาณ 50 % โดยสมมูล 3
1. กรรมวิธีสำหรับการเตรียม ซีโอไลท์ชนิด X ที่แลกเปลี่ยนลิเธียมและไทรเวเลนท์ไอออน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ (a) การนำสารละลายของเกลือลิเธียมในน้ำ มาสัมผัสกับซีโอไลท์ชนิด X ที่มีแคทไอออนที่แลกเปลี่ยนได้เป็น โซเดียม ไอออน โพแทสเซียม ไอออน แอมโมเนียม ไอออน หรือไออนของผสมไออนเหล่านี้ จนกระทั่งประมาณ 50 ถึงประมาณ 95% โดยสมมูลของแคทไออนที่แลกเปลี่ยนได้ ถูกแทนที่ด้วยลิเธียมไ ไอออน และ (b) การนำสารละลายของเกลือไทรเวเลนท์ ไอออนในน้ำ ซึ่งเลือกจากอะลูมินัม สแกนเดียม แกลเลียม ไอร์ออน(III) โครเมียม(III) อินเดียม บิทเทรียม แลนธาไนด์เดี่ยวแลนธาไนด์สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน และไอออนผสมของไอออน เหล่านี้มาสัมผัสกับผลิตภัณฑ์แลกเปลี่ยนลิเธียมของขั้นตอน(a) ดังนั้นอย่างน้อยที่สุดให้ซีโอไลท์ชนิด X ที่แลกเปลี่ยนไอออน คู่ ซึ่มีลิเธียมไอออน ประมาณ 50 ถึงประมาณ 95% โดยสมมูล และไทรเวเล่นท์ ไออนประมาณ 4 ถึงประมาณ 50%โดยสมมูล 3
2. กรรมวิธีสำหรับการเตรียม ซีโอไลท์ชนิด X ที่แลกเปลี่ยนลิเธียมและไทรเวเลนท์ไอออน ซึ่งประกอบด้ยการนำสารละลายของ เกลือลิเธียม และเกลือไทรเลนท์ ไอออน ในน้ำซึ่งเลือกจากอะลูมินัม สแกนเดียม แกลเลียม ไอร์ออน(III)โครเมียม(III) อินเดียม บิทเทรียม แลนธาไนด์เดี่ยวแลนธาไนด์สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน และไอออนผสมของไอออนเหล่านี้มาสัมผัสกับ.ซีโอไลท์ ชนิด X ที่มีโซเดียม ไอออนโพแทสเซียม ไออน แอมโมเนียมไอออน หรือไอออนผสมของไออนเหล่านี้ ในการเป็นแคทไออนที่ แลกเปลี่ยนได้จนกระทั่งประมาณ 50 ถึงประมาณ 95% โดยสมมูลของแคทไอออนที่แลกเปลี่ยได้ ถูกแทนที่ด้วยไทรเวเล่นท์ ไออนดังกล่าวนั้นหนึ่งชนิดหรือมากกว่า 3
3. กรรมวิธีตามข้อใด่ข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 30,31 และ 32 ซึ่งเลือกไทรเวเลนท์ ไอออนดังกล่าวนั้นเลือกจากอะลูมินัม ซีเรียม แลนธานัม แลนธาไนด์ สองชนิดหรือมากกว่าผสมกัน ซึ่งแลนธานัมซีเรียม พราซิโอไดเมียม และนีโอไดเมียมไอออนทั้งหมดที่มีใน สารผสมประกอบด้วยแลนธาไนด์ ไอออน ทั้งหมดอย่างน้อยที่สุด 50% และไอออนผสมของไอออนเหล่านั้น 3
4. กรรมวิธีตามข้อใด่ข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้อ 30,31 และ 32 ซึ่งซีโอไลท์ ชนิด ) ดังกล่าวนั้นคือ X ซีโอไลท์ลิลิคอนต่ำ
TH9401002828A 1994-12-20 การแยกไนโตรเจนออกจากแก๊สอื่นโดยการดูดซับ TH13450B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH19241A true TH19241A (th) 1996-06-21
TH13450B TH13450B (th) 2002-09-09

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU95102214A (ru) Цеолит типа х, способ получения литий- и трехвалентного ионообменного цеолита типа х и способ отделения азота от смеси газов
KR950024970A (ko) 질소를 다른 기체로부터 흡착적으로 분리하는 방법
US5587003A (en) Removal of carbon dioxide from gas streams
EP0718024B1 (en) Removal of carbon dioxide from gas streams
US5868818A (en) Adsorbent for air separation, production method thereof, and air-separation method using it
JP3776813B2 (ja) アルゴン/酸素選択性xゼオライト
US7608134B1 (en) Decarbonating gas streams using zeolite adsorbents
JPS59184707A (ja) 医療用酸素発生器のための圧力スイング吸着方法
JP3545377B2 (ja) 空気液化分離用空気の精製装置および方法
US3785122A (en) Process for preparing 4,5a zeolite and method for separating mixtures using same
ZA200203049B (en) Zeolite adsorbents, method for obtaining them and their use for removing carbonates from a gas stream.
ES2459202T3 (es) Procedimiento de purificación de aire utilizando un adsorbente zeolítico con bario y calcio
CA1313627C (en) Adsorptive purification process
EP1184067B1 (en) Process for adsorptive purification of air
TH19241A (th) การแยกไนโตรเจนออกจากแก๊สอื่นโดยการดูดซับ
TH13450B (th) การแยกไนโตรเจนออกจากแก๊สอื่นโดยการดูดซับ
US20070004591A1 (en) Adsorbing agent comprising zeolite for heat pump and method for preparation thereof and use thereof
US10549261B2 (en) Compositions, systems and methods using selective porous materials for oxygen separation
ES2242360T3 (es) Procedimiento de psa que utiliza un adsorbente aglomerado constituido por una fase zeolitica y un aglutinante.
JPH1150069A (ja) 天然ガスの精製方法
JP6549969B2 (ja) 空気精製装置および空気精製方法
JPS60147240A (ja) ゼオライト系オレフインガス吸着剤およびオレフインガスの吸着方法
JP2000140549A (ja) 二酸化炭酸の除去方法
JP3624584B2 (ja) 酸素psa用吸着剤、その製造法並びにそれを用いた酸素製造方法
KR910001928B1 (ko) 천연제올라이트를 이용한 이산화탄소 흡착제의 제조방법