แหลม
หน้าตา
ดูเพิ่ม: แหล่ม
ภาษาไทย
[แก้ไข]รากศัพท์
[แก้ไข]สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰlɛːmᴬ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰleːmᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແຫຼມ (แหลม), ภาษาไทใหญ่ လႅမ် (แลม), ภาษาไทดำ ꪵꪨꪣ (แหฺลม), ภาษาไทใต้คง ᥘᥦᥛᥴ (แล๋ม), ภาษาจ้วง lem หรือ liem, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง liem; เทียบภาษาไหลดั้งเดิม *tçʰəːm, ภาษาออสโตรนีเซียนดั้งเดิม *Cazem (ซึ่งเป็นรากของภาษามาเลเซีย tajam, ภาษาตากาล็อก matalim)
การออกเสียง
[แก้ไข]การแบ่งพยางค์ {เสียงสระสั้น} | แหฺลม | แหฺล็ม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | lɛ̌ɛm | lɛ̌m |
ราชบัณฑิตยสภา | laem | laem | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lɛːm˩˩˦/(สัมผัส) | /lɛm˩˩˦/(สัมผัส) |
คำคุณศัพท์
[แก้ไข]แหลม (คำอาการนาม ความแหลม)
- มีปลายเสี้ยมคม
- มีดปลายแหลม
- ไว, ฉลาด
- ปัญญาแหลม
- ชำนาญจนรู้ได้ทันทีว่าอะไรจริงอะไรไม่จริงเป็นต้น
- ตาแหลม
- มีระดับสูง
- เสียงแหลม
- จัด
- รสหวานแหลม
คำนาม
[แก้ไข]แหลม
คำกริยา
[แก้ไข]แหลม (คำอาการนาม การแหลม)
หมวดหมู่:
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม
- ศัพท์ภาษาไทยที่รับมาจากภาษาไทดั้งเดิม
- หน้าที่มีลิงก์แดงภาษาจ้วง/m
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛːm
- สัมผัส:ภาษาไทย/ɛm
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีการออกเสียงไอพีเอ
- ศัพท์ภาษาไทยที่มี 1 พยางค์
- คำหลักภาษาไทย
- คำคุณศัพท์ภาษาไทย
- ศัพท์ภาษาไทยที่มีตัวอย่างการใช้
- คำนามภาษาไทย
- คำกริยาภาษาไทย